ชื่อโครงการ/Project Name:
|
โครงการจดจำ อุปกรณ์จดบันทึกและคีย์บอร์ดอักษรเบรลล์สาหรับผู้พิการทางสายตา
|
ที่มาและความสำคัญ(Background and importance) *:
|
อุปกรณ์จดจำ ( MEM ) เพื่อช่วยเพิ่มสมรรถนะ ในการติดต่อสื่อสารให้กับผู้พิการทางสายตา ซึ่งเป็นนวัตกรรมใหม่ที่ฝีมือคนไทย ที่สามารถใช้ทดแทนเครื่องเขียนอักษรเบรลล์ด้วยมือชนิดพกพา ( Slate and Stylus ) และสามารถทดแทน Braille Notetaker จากต่างประเทศซึ่งราคาหลักแสนด้วย
อุปกรณ์จดจำ ( MEM ) เป็นผลงานจากกลุ่มนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับรางวัลชนะเลิศประเภทเมล็ดพันธุ์ความคิด ในโครงการประกวด true innovation awards 2012 อุปกรณ์จดจำ ( MEM ) นี้ มีลักษณะเป็น อักษรเบรลล์ keyboard ที่มีหน่วยความจำในตัวสามารถจดบันทึกและแสดงข้อมูลด้วยเสียงอีกทั้งสามารถใช้เป็นคีย์บอร์ด ควบคุมคอมพิวเตอร์ , สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ต ผ่านการเชื่อมต่อ usb bluetooth ผู้ใช้งาน สามารถย้อนกลับไปฟังความถูกต้องของข้อมูล ที่จดบันทึกและส่งข้อมูลที่บันทึกไปยังอุปกรณ์ไอที เพื่อส่งต่อและแชตสื่อสารกับคนอื่นได้
|
วัตถุประสงค์/Objective *:
|
อุปกรณ์จดจำ ( MEM ) เพื่อช่วยเพิ่มสมรรถนะ ในการติดต่อสื่อสารให้กับผู้พิการทางสายตา ซึ่งเป็นนวัตกรรมใหม่ที่ฝีมือคนไทย ที่สามารถใช้ทดแทนเครื่องเขียนอักษรเบรลล์ด้วยมือชนิดพกพา ( Slate and Stylus ) และสามารถทดแทน Braille Notetaker จากต่างประเทศซึ่งราคาหลักแสนด้วย
อุปกรณ์จดจำ ( MEM ) เป็นผลงานจากกลุ่มนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับรางวัลชนะเลิศประเภทเมล็ดพันธุ์ความคิด ในโครงการประกวด true innovation awards 2012 อุปกรณ์จดจำ ( MEM ) นี้ มีลักษณะเป็น อักษรเบรลล์ keyboard ที่มีหน่วยความจำในตัวสามารถจดบันทึกและแสดงข้อมูลด้วยเสียงอีกทั้งสามารถใช้เป็นคีย์บอร์ด ควบคุมคอมพิวเตอร์ , สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ต ผ่านการเชื่อมต่อ usb bluetooth ผู้ใช้งาน สามารถย้อนกลับไปฟังความถูกต้องของข้อมูล ที่จดบันทึกและส่งข้อมูลที่บันทึกไปยังอุปกรณ์ไอที เพื่อส่งต่อและแชตสื่อสารกับคนอื่นได้
|
วันที่เริ่มกิจกรรม/โครงการ *:
|
2013-07-25
|
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ:
|
ไทย
|
วันสิ้นสุดกิจกรรม/โครงการ *:
|
2015-07-25
|
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ (Activity / project location):
|
มหาวิทยาลัยมหิดล และกลุ่มทรู ( true innovation ) ,คณะวิศวกรรมศาสตร์
|
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ ผู้มีส่วนได้เสีย(Related Stakeholders) *:
|
ประชาชน
|
หน่วยงานที่รับผิดชอบ(Responsible agency) *:
|
|
ผลกระทบต่อสังคมที่ประเมินได้(social impact) *:
|
|
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ (Activity / project implementation model) *:
|
งานวิจัย/สำรวจ/ผลการศึกษา
|
จำนวน/ผู้ร่วมกิจกรรม(คน) (Target / Activity country) *:
|
7 แสนคน
|
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม (Target / Activity group) *:
|
ป็นนวัตกรรมฝีมือคนไทย สามารถนำไปใช้ได้จริง และก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้พิการทางสายตา ทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น ซึ่งผู้พิการทางสายตาในไทยตอนนี้มีมากถึง 7 แสนคน แม้อุปกรณ์จดจำ ( MEM ) นี่้จะคล้ายคลึง Braille Notetaker แต่ใหม่ในระดับโลก ซึ่งคิดโดยคนไทย รองรับภาษาไทย
|
วันที่เริ่มนำไปใช้ *:
|
2015-07-25
|
ไฟล์เอกสาร
|
18112022155720_MEM.pdf
|
เอกสารอ้างอิง(Reference document) (link/url) *:
|
https://www.it24hrs.com/2015/mahidol-true-mem-notetaker-thai/
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอันดับ1 (1 Related SDGs Goal) *:
|
เป้าหมายที่ 15: ปกป้อง ฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน จัดการป่าไม้อย่างยั่งยืนต่อสู้การกลายสภาพเป็นทะเลทราย หยุดการเสื่อมโทรมของที่ดินและฟิ้นสภาพกลับมาใหม่ และหยุดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอันดับ2 (2 Related SDGs Goal) *:
|
เป้าหมายที่ 16: ส่งเสริมสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรมและสร้างสถาบันที่มีประสิทธิผลรับผิดชอบและครอบคลุมในทุกระดับ
|