ชื่อโครงการ/Project Name:
|
โครงการ “พัฒนาสื่อการสอนด้านพลังงานทดแทนด้วยศาสตร์วิศวกรรมสำหรับครูในเขตพื้นที่ภาคกลาง”
|
ที่มาและความสำคัญ(Background and importance) *:
|
ด้วยภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ร่วมกับหน่วยงานวิศวกรรมเพื่อความรับผิดชอบต่อสังคม ดำเนินการจัดโครงการร่วมกัน เรื่อง “การพัฒนาสื่อการสอนด้านพลังงานทดแทนด้วยศาสตร์วิศวกรรม” ให้แก่ครู สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรมในเขตพื้นที่ภาคกลาง โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเป็นผู้นำด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงนโยบายระดับชาติและนานาชาติ ด้วยการสร้างระบบขับเคลื่อนและสนับสนุน Policy Advocacy Platform และ Ecosystem จากการนำผลงานวิิจัยและงานวิิชาการสู่การเป็นนโยบายสาธารณะให้เกิดเป็นรูปธรรม และสนับสนุนการถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อเสริมสร้างขีดความร่วมมือกับองค์กรภายนอก (Capacity Building) และยังเป็นการนำไปสู่การชี้นำสังคมและขับเคลื่อน 17 เป้าหมาย Sustainable Development Goals (SDGs) ขององค์การสหประชาชาติเพื่อสังคมที่ดีขึ้นต่อไป
ในการนี้ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จึงเล็งเห็นความสำคัญในการถ่ายทอดความรู้เรื่องดังกล่าว จึงได้จัดโครงการ “พัฒนาสื่อการสอนด้านพลังงานทดแทนด้วยศาสตร์วิศวกรรมสำหรับครูในเขตพื้นที่ภาคกลาง” ขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพด้านการพัฒนานวัตกรรมสื่อการสอนด้านพลังงานทดแทนและยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนของครู นักเรียน และโรงเรียน โดยการนำเทคโนโลยีด้านวิศวกรรมศาสตร์มาประยุกต์กับการพัฒนาทักษะด้านการสอน เพื่อให้นักเรียนได้ใช้เป็นสื่อการสอนจากนวัตกรรมต้นแบบจากของจริง ขยายโอกาสสู่การเรียนรู้แบบไร้พรมแดน และการเพิ่มศักยภาพของนักเรียนสู่การแข่งขันทางวิชาการที่สูงขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์คณะวิศวกรรมศาสตร์ที่ 3 การบริการวิชาการเพื่อความยั่งยืน และยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดลที่ 3 Policy Advocacy, Leaders in Professional / Academic Services and Excellence in Capacity Building for Sustainable Development Goals และยังดำเนินงานโครงการเป็นไปตามแผน PDCA ด้วย
|
วัตถุประสงค์/Objective *:
|
1. เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้กับ ครู สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรมในเขตพื้นที่ภาคกลาง เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้และทักษะ วิเคราะห์ วางแผน ออกแบบบทเรียน และออกแบบนวัตกรรมสื่อการสอน
เพื่อนำไปพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพด้านวิชาการ ทักษะวิชาชีพ ทักษะชีวิตและด้านคุณธรรมและจริยธรรม โดยการนำองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีไปช่วยแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนให้เกิดความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน
3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน (SDGs17)
4. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมสู่การขับเคลื่อนนโยบายชี้นำสังคม
5. เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้รู้จักการคืนสิ่งดี ๆ กลับสังคม
|
วันที่เริ่มกิจกรรม/โครงการ *:
|
2024-08-28
|
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ:
|
ไทย
|
วันสิ้นสุดกิจกรรม/โครงการ *:
|
2024-08-30
|
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ (Activity / project location):
|
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.มหิดล
|
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ ผู้มีส่วนได้เสีย(Related Stakeholders) *:
|
- หน่วยงาน ESR
- โรงเรียนพระปริยัติธรรมในเขตพื้นที่ภาคกลาง
|
หน่วยงานที่รับผิดชอบ(Responsible agency) *:
|
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
|
ผลกระทบต่อสังคมที่ประเมินได้(social impact) *:
|
ผลกระทบด้านคน
ผลกระทบด้านคน
|
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ (Activity / project implementation model) *:
|
กิจกรรม / การบรรยาย
|
จำนวน/ผู้ร่วมกิจกรรม(คน) (Target / Activity country) *:
|
40 คน
|
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม (Target / Activity group) *:
|
โรงเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการพัฒนานวัตกรรมสื่อการสอนด้านพลังงานทดแทนและยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนของครู นักเรียน และโรงเรียน โดยการนำเทคโนโลยีด้านวิศวกรรมศาสตร์มาประยุกต์กับการพัฒนาทักษะด้านการสอน เพื่อให้นักเรียนได้ใช้เป็นสื่อการสอนจากนวัตกรรมต้นแบบจากของจริง ขยายโอกาสสู่การเรียนรู้แบบไร้พรมแดน และการเพิ่มศักยภาพของนักเรียนสู่การแข่งขันทางวิชาการที่สูงขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ
|
วันที่เริ่มนำไปใช้ *:
|
2024-08-31
|
ไฟล์เอกสาร
|
23012025151347_รูปภาพโครงการพัฒนาสื่อการสอนด้วยพลังงานทดแทน (ชี้นำสังคม)_EE.pdf
|
เอกสารอ้างอิง(Reference document) (link/url) *:
|
- FB:วิศวะมหิดลเพื่อสังคม
- https://www.eg.mahidol.ac.th/egmu/
- https://www.eg.mahidol.ac.th/dept/egee/
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอันดับ1 (1 Related SDGs Goal) *:
|
เป้าหมายที่ 4: สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอันดับ2 (2 Related SDGs Goal) *:
|
เป้าหมายที่ 10: ลดความไม่เสมอภาคภายในประเทศและระหว่างประเทศ
|