ชื่อโครงการ/Project Name:
|
บทความตีพิมพ์ เรื่อง "การพัฒนาและนําอุปกรณ IoT เพื่อเปนแหลงเรียนรูวิถี Smart Farm กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรียคลองโยง ต.คลองโยง อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม" การตีพิมพ์บทความวิชาการการประชุมวิชาการระดับชาติ วิศวศึกษา ครั้งที่ 20 Paper ID: NCEE25
|
ที่มาและความสำคัญ(Background and importance) *:
|
จากการริเริ่มโครงการ “Smart Farm เกษตรอัจฉริยะ เพื่อเสริมความแกร่งเกษตรกรไทย” โดยเป็นโครงการหนึ่งของกิจกรรมในงานบริการวิชาการและขับเคลื่อนนโยบายชี้นำสังคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีเป้าหมายการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้ตรงกับความต้องการของเกษตรกร และผลงานนี้นั้นสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มอื่นเช่นบริเวณข้างเคียงสามารถเข้าถึงและดูการทำงานได้ ผลงานที่พัฒนาขึ้นนี้จะใช้วัสดุอุปกรณ์ที่หาได้ในประเทศไทยและใช้งบประมาณต่ำเพื่อให้เกษตรกรเข้าถึงได้ และเป็นประโยชน์สอดคล้องตามความต้องการของกิจกรรมนั้นๆ ของเกษตรกร กรณีนี้ทางผู้ทำวิจัยได้กลุ่มเป้าหมาย คือ วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์คลองโยง ต.คลองโยง อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม เป็นกลุ่มเกษตรกรที่มีความต้องการเทคโนโลยีที่มาช่วยในการบริหารจัดการการดำเนินงานในแปลงเกษตรของตนเพื่อให้ได้ประสิทธิผล โดยขอให้ริเริ่มระบบ Smart Farm จำนวน 3 แปลง ในการควบคุมการสูบน้ำ และกระจายการให้น้ำใน 3 แปลงนี้ และมีการบันทึกข้อมูลด้านการ เปิด-ปิด วาล์วน้ำ รวมทั้งอุณหภูมิ และความชื้นหน้าแปลงเพื่อเก็บบันทึกแบบอัตโนมัติสำหรับมาตรฐาน GAP [1] ในงานวิจัยนี้ได้ร่วมกันพัฒนาตู้ควบคุมที่ใช้หลักการ IoT (Internet of Things) ซึ่งสามารถแสดงผล และควบคุมปั้มน้ำ และการ เปิด-ปิด ของวาล์วน้ำไฟฟ้า รวมทั้งเซ็นเซอร์อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์บริเวณแปลงเกษตร และมีการบันทึกข้อมูลการทำงานการเปลี่ยนแปลงสถานะต่างๆ ของแปลงลงยัง Speradsheet ที่เก็บเป็นไฟล์บน Cloud (Google Sheet)
|
วัตถุประสงค์/Objective *:
|
เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มอื่นเช่นบริเวณข้างเคียงสามารถเข้าถึงและดูการทำงานได้ ผลงานที่พัฒนาขึ้นนี้จะใช้วัสดุอุปกรณ์ที่หาได้ในประเทศไทยและใช้งบประมาณต่ำเพื่อให้เกษตรกรเข้าถึงได้ และเป็นประโยชน์สอดคล้องตามความต้องการของกิจกรรมนั้นๆ ของเกษตรกร
|
วันที่เริ่มกิจกรรม/โครงการ *:
|
2024-08-01
|
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ:
|
ไทย
|
วันสิ้นสุดกิจกรรม/โครงการ *:
|
2024-09-26
|
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ (Activity / project location):
|
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิศวศึกษาครั้งที่ 20
|
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ ผู้มีส่วนได้เสีย(Related Stakeholders) *:
|
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
|
หน่วยงานที่รับผิดชอบ(Responsible agency) *:
|
- หน่วยวิศวกรรมเพื่อความรับผิดชอบต่อสังคม
- ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
|
ผลกระทบต่อสังคมที่ประเมินได้(social impact) *:
|
ผลกระทบด้านคน
ผลกระทบด้านคน
|
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ (Activity / project implementation model) *:
|
การประชุม / การสัมมนา
|
จำนวน/ผู้ร่วมกิจกรรม(คน) (Target / Activity country) *:
|
150 คน
|
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม (Target / Activity group) *:
|
ผลงานบทความตีพิมพ์ระดับชาติ
|
วันที่เริ่มนำไปใช้ *:
|
2024-09-26
|
ไฟล์เอกสาร
|
01042025145132_Smart Farm MU.pdf
|
เอกสารอ้างอิง(Reference document) (link/url) *:
|
- https://eg.mahidol.ac.th/egmu/
- FB: วิศวะมหิดลเพื่อสังคม
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอันดับ1 (1 Related SDGs Goal) *:
|
เป้าหมายที่ 8: ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง ครอบคลุม และยั่งยืน การจ้างงานเต็มที่ มีผลิตภาพ และการมีงานที่เหมาะสมสำหรับทุกคน
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอันดับ2 (2 Related SDGs Goal) *:
|
เป้าหมายที่ 3: สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิภาพสำหรับทุกคนในทุกวัย
|