ชื่อ/รายละเอียด/โครงการ/กิจกรรม/Activity/Lecture/Reasearch/Conference

โครงการ “ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนา การออกแบบ และเทคนิคการติดตั้งสู่ช่างอิสระที่ประกอบอาชีพในชุมชน”


ชื่อโครงการ/Project Name:

โครงการ “ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนา การออกแบบ และเทคนิคการติดตั้งสู่ช่างอิสระที่ประกอบอาชีพในชุมชน”

 

ที่มาและความสำคัญ(Background and importance) *:

ด้วยภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ร่วมกับหน่วยงานวิศวกรรมเพื่อความรับผิดชอบต่อสังคม ดำเนินการจัดโครงการร่วมกัน เรื่อง “พัฒนาศักยภาพและการเรียนรู้เทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้าสู่ช่างอิสระในชุมชน” ให้แก่ช่างอิสระในชุมชน และผู้สนใจทั่วไป เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การให้ความรู้ เพิ่มทักษะ และการสร้างอาชีพให้กับช่างอิสระในชุมชน นักศึกษา นักเรียน และผู้สนใจทั่วไป โดยให้ความสำคัญในการให้ความรู้ความเข้าใจทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จนสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ต่อยอดไปจนถึงการสร้างอาชีพได้ในอนาคต ซึ่งขณะนี้การศึกษาในเรื่องดังกล่าวทางช่างอิสระในชุมชนยังขาดความรู้ ความเข้าใจทั้งในภาคทฤษฎีและการปฏิบัติ จนสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง โดยการนำความรู้จากการฝึกอบรมในครั้งนี้ไปพัฒนาช่างอิสระในชุมชน นักศึกษา นักเรียน และผู้ที่สนใจทั่วไป ให้สามารถเข้าสู่การเรียนรู้ในเรื่องดังกล่าวได้เป็นอย่างดี ในการนี้ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จึงเล็งเห็นความสำคัญในการถ่ายทอดความรู้เรื่องดังกล่าว จึงได้จัดโครงการ “ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนา การออกแบบ และเทคนิคการติดตั้งสู่ช่างอิสระที่ประกอบอาชีพในชุมชน” ขึ้น เพื่อฝึกทักษะการเป็นผู้นำ การถ่ายทอดความรู้ และการทำงานเป็นทีมของบุคลากรจิตอาสาในการปฏิบัติการถ่ายทอดความรู้ให้กับช่างอิสระในชุมชน นักศึกษา นักเรียน และผู้สนใจทั่วไป นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อไป และเพื่อให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์คณะวิศวกรรมศาสตร์ที่ 3 การบริการวิชาการเพื่อความยั่งยืน และยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดลที่ 3 Policy Advocacy, Leaders in Professional / Academic Services and Excellence in Capacity Building for Sustainable Development Goals และยังดำเนินงานโครงการเป็นไปตามแผน PDCA ด้วย

วัตถุประสงค์/Objective *:

1. เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้กับ ช่างอิสระชุมชน นักศึกษา นักเรียน และผู้สนใจทั่วไป เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้และทักษะ ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรรม EV ให้สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ต่อยอดไปจนถึงการสร้างอาชีพในอนาคต 3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน (SDGs17) 4. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมสู่การขับเคลื่อนนโยบายชี้นำสังคม 5. เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้รู้จักการคืนสิ่งดี ๆ กลับสังคม

วันที่เริ่มกิจกรรม/โครงการ *:

2024-08-17

สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ:

ไทย

วันสิ้นสุดกิจกรรม/โครงการ *:

2024-08-24

สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ
(Activity / project location):

คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.มหิดล

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/
ผู้มีส่วนได้เสีย(Related Stakeholders) *:

- หน่วยงาน ESR - บริษัท ลิงค์เทค (ประเทศไทย) จำกัด - บริษัทสมาร์ทไลฟ์อินโนเวชั่น จำกัด - ช่างชุมชนอิสระ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ(Responsible agency) *:

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

ผลกระทบต่อสังคมที่ประเมินได้(social impact) *:

ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ


ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ

รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ
(Activity / project implementation model) *:

กิจกรรม / การบรรยาย

จำนวน/ผู้ร่วมกิจกรรม(คน)
(Target / Activity country) *:

40 คน

กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม
(Target / Activity group) *:

1. ช่างอิสระในชุมชน/บุคลากร/นักศึกษาจิตอาสาได้รับการพัฒนาให้เกิดประโยชน์จริงไม่น้อยกว่าระดับ 3.51 2. เกิดการพัฒนาองค์กรอย่างยั่งยืน (SDGs17) ไม่น้อยกว่า 1 โครงการ 3. องค์กรเกิดการปลูกฝังจิตสำนึกให้รู้จักการคืนสิ่งดี ๆ กลับสังคมเพิ่มมากขึ้นไม่น้อยกว่าระดับ 3.51

วันที่เริ่มนำไปใช้ *:

2024-08-25

ไฟล์เอกสาร

23012025145222_รูปภาพโครงการช่างอิสระ EV_EE.pdf

เอกสารอ้างอิง(Reference document) (link/url) *:

- FB:วิศวะมหิดลเพื่อสังคม - https://www.eg.mahidol.ac.th/egmu/ - https://www.eg.mahidol.ac.th/dept/egee/

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอันดับ1 (1 Related SDGs Goal) *:

เป้าหมายที่ 7: สร้างหลักประกันให้ทุกคนสามารถเข้าถึงพลังงานสมัยใหม่ที่ยั่งยืนในราคาที่ย่อมเย

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอันดับ2 (2 Related SDGs Goal) *:

เป้าหมายที่ 8: ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง ครอบคลุม และยั่งยืน การจ้างงานเต็มที่ มีผลิตภาพ และการมีงานที่เหมาะสมสำหรับทุกคน