ชื่อ/รายละเอียด/โครงการ/กิจกรรม/Activity/Lecture/Reasearch/Conference

โครงการเดินดี เครื่องกระตุ้นเท้าตกแบบพกพาด้วยไฟฟ้าตามจังหวะก้าวเดิน


ชื่อโครงการ/Project Name:

โครงการเดินดี เครื่องกระตุ้นเท้าตกแบบพกพาด้วยไฟฟ้าตามจังหวะก้าวเดิน

 

ที่มาและความสำคัญ(Background and importance) *:

ผศ.ดร. เซง เลิศมโนรัตน์ อาจารย์ที่ปรึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมทีมผู้ช่วยวิจัยประกอบด้วย นายจิรวัฒน์ จิตประสูติวิทย์ และ นายรติกร ชัยวัฒนธรรม นักศึกษาปริญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตร์ จึงร่วมกันคิคค้นอุปกรณ์ช่วยเดินให้กับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ที่มีปัญหาในระหว่างการทำกายภาพบำบัด โดยเฉพาะปัญหาปลายเท้าตก ทำให้การเดินเป็นไปอย่างลำบาก จนได้รับรางวัลชนะเลิศจากเวทีการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13 และรางวัล Best Contribution Award จากการประกวด International Contest of Application in Nano – micro Technology (ICAN 2011) ที่ประเทศจีน และปัจจุบันได้มีการต่อยอดและพัฒนาอุปกรณ์สร้างกระแสประสาทเทียมชื่อว่าเครื่อง “เดินดี” ในเชิงพาณิชย์แล้ว ปัจจุบันเครื่องเดินดีผลิตไปแล้ว 500 เครื่อง โดย 250 เครื่องจำหน่ายให้กับประชาชนทั่วไป ส่วนที่เหลืออีก 250 เครื่องจะนำไปมอบให้กับโรงพยาบาลศูนย์ 24 แห่งทั่วประเทศ พร้อมกับทำการฝึกอบรมการใช้งานของเครื่องให้กับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลด้วย เพราะเครื่องเดินดีนั้นไม่ใช่ใครก็สามารถใช้ได้ แต่ผู้ป่วยที่ต้องการใช้เครื่องนี้ต้องได้รับการทดสอบก่อนว่าอาการของโรคเหมาะกับการใช้เครื่องนี้หรือไม่ เพราะสภาพร่างกายและอาการผู้ป่วยแต่ละคนแตกต่างกัน ผู้ใช้จึงต้องได้รับคำแนะนำอย่างใกล้ชิด

วัตถุประสงค์/Objective *:

ผศ.ดร. เซง เลิศมโนรัตน์ อาจารย์ที่ปรึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมทีมผู้ช่วยวิจัยประกอบด้วย นายจิรวัฒน์ จิตประสูติวิทย์ และ นายรติกร ชัยวัฒนธรรม นักศึกษาปริญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตร์ จึงร่วมกันคิคค้นอุปกรณ์ช่วยเดินให้กับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ที่มีปัญหาในระหว่างการทำกายภาพบำบัด โดยเฉพาะปัญหาปลายเท้าตก ทำให้การเดินเป็นไปอย่างลำบาก จนได้รับรางวัลชนะเลิศจากเวทีการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13 และรางวัล Best Contribution Award จากการประกวด International Contest of Application in Nano – micro Technology (ICAN 2011) ที่ประเทศจีน และปัจจุบันได้มีการต่อยอดและพัฒนาอุปกรณ์สร้างกระแสประสาทเทียมชื่อว่าเครื่อง “เดินดี” ในเชิงพาณิชย์แล้ว ปัจจุบันเครื่องเดินดีผลิตไปแล้ว 500 เครื่อง โดย 250 เครื่องจำหน่ายให้กับประชาชนทั่วไป ส่วนที่เหลืออีก 250 เครื่องจะนำไปมอบให้กับโรงพยาบาลศูนย์ 24 แห่งทั่วประเทศ พร้อมกับทำการฝึกอบรมการใช้งานของเครื่องให้กับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลด้วย เพราะเครื่องเดินดีนั้นไม่ใช่ใครก็สามารถใช้ได้ แต่ผู้ป่วยที่ต้องการใช้เครื่องนี้ต้องได้รับการทดสอบก่อนว่าอาการของโรคเหมาะกับการใช้เครื่องนี้หรือไม่ เพราะสภาพร่างกายและอาการผู้ป่วยแต่ละคนแตกต่างกัน ผู้ใช้จึงต้องได้รับคำแนะนำอย่างใกล้ชิด

วันที่เริ่มกิจกรรม/โครงการ *:

2556-08-07

สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ:

ไทย,ประเทศจีน

วันสิ้นสุดกิจกรรม/โครงการ *:

2565-08-07

สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ
(Activity / project location):

กองควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน),มหาวิทยาลัยมหิดล,คณะวิศวกรรมศาสตร์

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/
ผู้มีส่วนได้เสีย(Related Stakeholders) *:

ประชาชน

หน่วยงานที่รับผิดชอบ(Responsible agency) *:

ผลกระทบต่อสังคมที่ประเมินได้(social impact) *:


รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ
(Activity / project implementation model) *:

งานวิจัย/สำรวจ/ผลการศึกษา

จำนวน/ผู้ร่วมกิจกรรม(คน)
(Target / Activity country) *:

50,000

กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม
(Target / Activity group) *:

ปัจจุบันเครื่องเดินดีผลิตไปแล้ว 500 เครื่อง โดย 250 เครื่องจำหน่ายให้กับประชาชนทั่วไป ส่วนที่เหลืออีก 250 เครื่องจะนำไปมอบให้กับโรงพยาบาลศูนย์ 24 แห่งทั่วประเทศ พร้อมกับทำการฝึกอบรมการใช้งานของเครื่องให้กับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลด้วย เพราะเครื่องเดินดีนั้นไม่ใช่ใครก็สามารถใช้ได้ แต่ผู้ป่วยที่ต้องการใช้เครื่องนี้ต้องได้รับการทดสอบก่อนว่าอาการของโรคเหมาะกับการใช้เครื่องนี้หรือไม่ เพราะสภาพร่างกายและอาการผู้ป่วยแต่ละคนแตกต่างกัน ผู้ใช้จึงต้องได้รับคำแนะนำอย่างใกล้ชิด

วันที่เริ่มนำไปใช้ *:

2556-07-08

ไฟล์เอกสาร

18112022153129_SCB.pdf

เอกสารอ้างอิง(Reference document) (link/url) *:

www.facebook.com/DearnDee

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอันดับ1 (1 Related SDGs Goal) *:

เป้าหมายที่ 11: ทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความครอบคลุม ปลอดภัย มีภูมิต้านทานและยั่งยืน

SDG goal ที่เกี่ยวข้องอันดับ2 (2 Related SDGs Goal) *:

เป้าหมายที่ 9: สร้างโครงสร้างพื้นฐานที่มีความทนทาน ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมและยั่งยืน และส่งเสริมนวัตกรรม