ชื่อโครงการ/Project Name:
|
โครงการอบรมเพิ่มทักษะความรู้และเทคโนโลยีเครื่องมือแพทย์เชิงลึกสำหรับวิศวกรการแพทย์
|
ที่มาและความสำคัญ(Background and importance) *:
|
เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้เกิดผลกระทบเป็นวงกว้างต่อหลายภาคส่วนของประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็น ด้านความมั่นคงของเศรษฐกิจภายในประเทศ อุตสาหกรรม การเกษตร หรือ ด้านการบริการต่างๆ เจ้าหน้าที่แพทย์ พยาบาล และบุคลากรทางการแพทย์ จัดเป็นเจ้าหน้าหน้าด้านหน้าในการรักษา และพยาบาลผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ผ่านมาในการรักษา เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์หลากหลายได้ถูกนำมาใช้งานเพื่อการรักษาที่ได้ประสิทธิภาพสูงสูดแก่ผู้ป่วยเช่น เครื่องช่วยหายใจ เครื่องวัดปริมาณออกซิเจนในเลือด โดยเฉพาะเครื่องเครื่องให้ออกซิเจนอัตราการไหลสูง (High Flow) จัดเป็นเครื่องมือที่มีความจะเป็นและสำคัญต่อการรักษาเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตามที่ผ่านมาเครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์ดังกล่าวได้ถูกนำมาใช้งานตั่งแต่การเริ่มระบาดของโคโรนา2019 ตามโรงพยาบาล และหน่วยงานรักษาพยาบาลต่างๆ อย่างกว้างขวาง โดยที่ผ่านมาเครื่องมือดังกล่าวยังขาดการดูแลอย่างถูกต้องจากเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ดังนั้นเพื่อให้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ดังกล่าวสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และพร้อมใช้งานตลอดเวลาตามความต้องการของแพทย์ผู้รักษา วิศวกรแพทย์ที่ดูแลรับรับชอบเครื่องมือดังกล่าวให้พร้อมใช้งานควรต้องมือพื้นฐานและองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมการแพทย์ และเทนโนโลยีของเครื่องมือนั้นๆ รวมถึงวิธีการดูบำรุงรักษา และแก้ปัญหาเบื้องต้นให้เครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์ดังกล่าวพร้อมใช้งาน
|
วัตถุประสงค์/Objective *:
|
1.เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับเทคโนโลยีของเครื่องมือแพทย์เชิงลึก และสามารถดูแล และบำรุงรักษา รวมถึงแก้ปัญหาเบื้องต้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อประชาสัมพันธ์ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยมหิดลให้เป็นที่รู้จักในด้านวิชาการทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมชีวการแพทย์
|
วันที่เริ่มกิจกรรม/โครงการ *:
|
2022-10-01
|
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ:
|
ประเทศไทย
|
วันสิ้นสุดกิจกรรม/โครงการ *:
|
2022-10-21
|
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ (Activity / project location):
|
ณ ห้อง Innogineer Marker Studio ชั้น 1 อาคาร 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
|
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ ผู้มีส่วนได้เสีย(Related Stakeholders) *:
|
บริษัท โกลบอล เฮลตี้แคร์
|
หน่วยงานที่รับผิดชอบ(Responsible agency) *:
|
|
ผลกระทบต่อสังคมที่ประเมินได้(social impact) *:
|
|
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม/โครงการ (Activity / project implementation model) *:
|
กิจกรรม / การบรรยาย
|
จำนวน/ผู้ร่วมกิจกรรม(คน) (Target / Activity country) *:
|
30 คน
|
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม (Target / Activity group) *:
|
1. 1. เกิดการประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะวิศวกรรมศาสตร์ในด้านวิชาการไปยัง หน่วยงานทางการแพทย์ โรงพยาบาล ของกระทรวงสาธารณสุข โดยใช้การอบรมให้ความรู้ด้านเทคโนโลยีและความก้าวหน้าทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ รวมถึงเพิ่มพูนความรู้ในการดูแล เทคโนโลยีดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. 2. เกิดการส่งเสริมและเพิ่มพูลความรู้เทคโนโลยีและควาวก้าวหน้าทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ แก่เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานดูแลทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ของหน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุขทำให้เกิดการพัฒนาขีดความสามารถของงานวิจัยที่สามารถนำไปต่อยอดเทคโนโลยีและต่อยอดเชิงพาณิชย์จากการใช้ฐานข้อมูลสิทธิบัตร
|
วันที่เริ่มนำไปใช้ *:
|
2022-10-22
|
ไฟล์เอกสาร
|
22012024085913_โครงการอบรมเพิ่มทักษะความรู้และเทคโนโลยีเครื่องมือแพทย์.pdf
|
เอกสารอ้างอิง(Reference document) (link/url) *:
|
FB: วิศวะมหิดลเพื่อสังคม
https://www.eg.mahidol.ac.th/dept/egie/main/
https://www.eg.mahidol.ac.th/dept/egbe/#
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอันดับ1 (1 Related SDGs Goal) *:
|
เป้าหมายที่ 3: สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิภาพสำหรับทุกคนในทุกวัย
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอันดับ2 (2 Related SDGs Goal) *:
|
เป้าหมายที่ 10: ลดความไม่เสมอภาคภายในประเทศและระหว่างประเทศ
|